มารู้จักแร่ทัลคัม (Talc) หรือแมกนีเซียมซิลิเกต (Magnesium Silicate)

มารู้จักแร่ทัลคัม (Talc) หรือแมกนีเซียมซิลิเกต (Magnesium Silicate)

     Talc มีโครงสร้าง TOT เหมือนพวก Montmorillonite แต่ Al+3 ใน Octahedral shoot ถูกแทนทีด้วย Mg+2 (Brucite sheet) แรงบิดกับระหว่างออกซิเจนกับออกซิเจนของแต่ละชั้นไม่แข็งแรงจึงเป็นเหตุให้เกิดรอยแตกตามแนวตั้งฉากกับแกน C ได้ง่าย และเป็นเหตุท่าให้แร่นี้มีเนื้อแร่อ่อนนิ่ม ส่วนประกอบทางเคมีตามทฤษฎี คือ 63.5% SiO2, 31.7% MgOuas4.8%H2O

     แหล่งทัลคัมที่สําคัญในโลกมีอยู่ที่อิตาลีออสเตรียสเปนฝรั่งเศสอเมริกาอินเดียและจีนส่วนแหล่งในเมืองไทยนั้นส่วนใหญ่เป็นทัลคัมที่มีมลทินปนอยู่ในปริมาณสูงไม่เหมาะสําหรับใชในสีเคลือบ Talc แร่มีคุณสมบัติพิเศษหลายประการจึงใช้เป็นส่วนประกอบในหลายอุตสาหกรรมเช่น

  • ทัลคัมเป็นตัว filler กระดาษและพลาสติก
  • เป็นตัวกันติดในอุตสาหกรรมยาง
  • เป็นส่วนผสมในแป้งทาตัว
  • เป็นส่วนผสมในเครื่องสําอาง
  • เป็นตัวหล่อลื่นเพื่อช่วยยืดอายุแบบในอุตสาหกรรมโลหะ
  • ใช้เป็นส่วนผสมในยาฆ่าแมลง
  • เป็นส่วนผสมในสี
  • ทําตัวหล่อกับเรซิ่น
  • ใช้ในอุตสาหกรรมสายไฟเทาคัมที่นิยมใช้ในเมืองไทย

     ประเทศไทยมีการนําเข้า Talc จากประเทศจีนมากเป็นอันดับหนึ่งซึ่งเทาคัมที่นําเข้ามาและเป็นที่รู้จักกันคือ Talcum35, Talcum37, Talcum30, Talcum800, Talcum 1250 นอกจากนั้นยังมีการนําเข้ามาจากประเทศอินเดียเป็นอันดับสองและจากประเทศอื่น ๆ เนื่องจาก Talc มีการใช้งานได้หลากหลายซึ่งความต้องการในแต่ละอุตสาหกรรมและในสินค้าแต่ละเกรดแต่ละชนิดจะไม่เหมือนกันเช่นความขาว, ความสว่าง, ขนาด, ความลื่น, ความบริสุทธิ์, การดูดซับน้ำมันและคุณสมบัติอื่น ๆ อีกหลายประการดังนั้นจึงต้องเลือกเกรดที่เหมาะสมความความต้องการงานแต่ละประเภท

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า